ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 20-30 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดทรงเจดีย์ต่ำ พุ่มใบทึบ โคนต้นเป็นพูพอน มีรากค้ำยัน เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาล บางครั้งแตกเป็นร่องตื้นตามยาวลำต้น ใบ เดี่ยว เรียงตรงกันข้ามสลับตั้งฉากกัน ใบรูปมนหรือรูปมนแกมรูปบรรทัด ปลายใบและโคนใบแหลม แผ่นใบอวบหนาและเป็นมัน ขอบใบเรียบใบเกลี้ยง ดอก สีเหลืองปนส้ม ดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อแบบช่อกระจุกห้อยลงมาตามซอกใบ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย มีขนปกคลุมตามขอบหนาแน่น ผล สดเมล็ดเดียว ตัวผลรวมทั้งต้นอ่อน รูปทรงกระบอกยาว ปลายแหลม มีสันนูนเล็กน้อยตามยาว
- ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-30 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มกลม โปร่ง โคนต้นมีพูพอน แผ่เป็นครีบ สูงถึง 1 ม. รากหายใจคล้ายรูปหัวเข่า สูง 30-45 ซม. รากค้ำยันขนาดเล็กแผ่เป็นแผ่นบาง เปลือกสีเทาเข้มถึงสีน้ำตาลอมเทา ผิวเปลือกหยาบ ขรุขระแล้วแตกล่อนเป็นสะเก็ดหรือเป็นร่องตามยาว ช่องอากาศขนาดใหญ่มีเฉพาะที่พูพอน กิ่งอ่อนและก้านใบมักไม่มีคราบขาว
ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ออกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน แกมรูปรี ขนาด 3-6x7-15 ซม. โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลมสั้นๆ เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบยุบตัว ไม่มีคราบสีขาวขนาบ เส้นแขนง 8-12 คู่ ปรากฏลาง ๆ ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบอวบน้ำแกมเหนียวคล้ายแผ่นหนัง มักมีรอยคลี่ใบปรากฏ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ด้านบนเป็นร่องตื้น หูใบเรียวแหลม สีเขียวหรือสีเขียว อมเหลือง ประบกันเป็นคู่ที่ปลายกิ่ง ยาว 4-10 ซม. หลุดร่วงง่าย
ดอก เดี่ยว ออกตามง่ามใบ ก้านดอกมักโค้งลง ยาว 0.6-1.5 ซ. ดอกตูมรูปทรงกระสวย ยาว 2.5-4 ซม. เมื่อบานมีลักษณะคล้ายสุ่ม กลีบเลี้ยงสีเหลืองอ่อน เขียวอมเหลืองหรือสีเขียวอมชมพู พบน้อยที่เป็นสีแดงเรื่อ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูประฆัง ยาว 1-1.5 ซม. มีสันเด่น จรดโคนหลอด ปลายแยกเป็นแฉกแคบ ๆ 10-12 แฉก กลีบดอกแยกกัน 10-12 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. สีนวลถึงสีส้มอมแดง ปลายกลีบเว้าลึกลงมาเกือบถึงกลางกลีบเป็น 2 แฉก ปลายทู่ไม่มีรยางค์ กลางร่องแฉก มีรยางค์เป็นเส้นแข็ง 1 เส้น ยาวไม่เกินปลายแฉก ขอบกลีบมีขนสีขาวเป็นมันคล้ายเส้นไหมปกคลุมหนาแน่น ออกดอกเกือบตลอดทั้งปี
ผล แบบผลมีเนื้อเมล็ดเดียว รูปทรงไข่คล้ายลูกข่าง ยาว 2-3 ซม. ผิวเรียบ หลอดจุกผลเป็นสันนูนเด่นเกือบจรดโคนจุก เมล็ดงอกตั้งแต่อยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยงหรือ “ฝัก” รูปทรงกระสวย ขนาด 1-1.15x5-10 ซม. เป็นเหลี่ยมหรือมีสันเด่นชัด โคนฝักสอบทู่ ฝักอ่อนสีเขียวอมเหลืองแล้วเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอมเขียวเมื่อแก่ ออกผลเกือบตลอดทั้งปี
- ไม้ต้น สูง 20-30 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดทรงเจดีย์ต่ำ พุ่มใบทึบ โคนต้นเป็นพูพอน มีรากค้ำยัน เปลือกเรียบสีเทาอมน้ำตาล บางครั้งแตกเป็นร่องตื้นตามยาวลำต้น
ใบ : เดี่ยว เรียงตรงกันข้ามสลับตั้งฉากกัน ใบรูปมนหรือรูปมนแกมรูปบรรทัด ปลายใบและโคนใบแหลม แผ่นใบอวบหนาและเป็นมัน ขอบใบเรียบใบเกลี้ยง
ดอก : สีเหลืองปนส้ม ดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อแบบช่อกระจุกห้อยลงมาตามซอกใบ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย มีขนปกคลุมตามขอบหนาแน่น
ผล : สดเมล็ดเดียว ตัวผลรวมทั้งต้นอ่อน รูปทรงกระบอกยาว ปลายแหลม มีสันนูนเล็กน้อยตามยาว
ระบบนิเวศ :
- พบขึ้นทั่วไปในป่าชายเลน ในบริเวณดินเลนแข็ง หรือดินค่อนข้างแข็งและเหนียว และน้ำทะเลท่วมถึงบางครั้งบางคราว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สมุทรปราการ
- สมุทรปราการ
- สมุทรปราการ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- บางกระเจ้า
- พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
- พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น (Tree)
- - ต้นพังกาหัวสุมดอกขาว : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-30 เมตร โคนต้นมีพูพอนสูง รากหายใจรูปคล้ายเข่า มีรากค้ำจุนขนาดเล็ก กิ่งอ่อนสีเขียว บางครั้งเหมือนถูกย้อมด้วยสี แดง เปลือกสีเทาเข้มถึงสีน้ำตาลอมเทา ผิวเปลือกหยาบ เป็นสะเก็ด แตกเป็นร่องตามยาว ช่องอากาศขนาดใหญ่มีน้อย มีเฉพาะที่พูพอน
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับทิศทาง แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน แกมรูปรี ขนาด 3-6 ด 8-16 ซม. ปลายใบและฐานใบแหลม เส้นใบ 7- 11คู่ ก้านใบยาว 1-5 ซม. หูใบยาว 4-10ซม. สีเหลืองอ่อน หรือสีเขียว
- ดอก : ออกดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ยาว 2.3-4 ซม. ก้านดอกยาว 0.6-1.5 ซม. สีเขียว กลีบเลี้ยง 10-12 กลีบ สีเหลืองอ่อน หรือเขียวอมเหลือง หรือเขียวอมชมพู หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 ซม. มีสัน กลีบดอก ยาว 1-1.5 ซม. ขอบกลีบมีขน
- ผล : รูปคล้ายลูกข่าง ยาว 2-3 ซม. ผิวเรียบ เป็นผลแบบงอก ตั้งแต่ยังติดอยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยง หรือ ฝัก รูปซิการ์ ขนาด 1-1.5 ด5-10 ซม. สีเขียว มีเหลี่ยมเล็กน้อย โคนสอบทู่ ออกดอกและผลเกือบตลอดทั้งปี
- - ต้นพังกาหัวสุมดอกขาว : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-30 เมตร โคนต้นมีพูพอนสูง รากหายใจรูปคล้ายเข่า มีรากค้ำจุนขนาดเล็ก กิ่งอ่อนสีเขียว บางครั้งเหมือนถูกย้อมด้วยสี แดง เปลือกสีเทาเข้มถึงสีน้ำตาลอมเทา ผิวเปลือกหยาบ เป็นสะเก็ด แตกเป็นร่องตามยาว ช่องอากาศขนาดใหญ่มีน้อย มีเฉพาะที่พูพอน
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับทิศทาง แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน แกมรูปรี ขนาด 3-6 ด 8-16 ซม. ปลายใบและฐานใบแหลม เส้นใบ 7- 11คู่ ก้านใบยาว 1-5 ซม. หูใบยาว 4-10ซม. สีเหลืองอ่อน หรือสีเขียว
- ดอก : ออกดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ยาว 2.3-4 ซม. ก้านดอกยาว 0.6-1.5 ซม. สีเขียว กลีบเลี้ยง 10-12 กลีบ สีเหลืองอ่อน หรือเขียวอมเหลือง หรือเขียวอมชมพู หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 ซม. มีสัน กลีบดอก ยาว 1-1.5 ซม. ขอบกลีบมีขน
- ผล : รูปคล้ายลูกข่าง ยาว 2-3 ซม. ผิวเรียบ เป็นผลแบบงอก ตั้งแต่ยังติดอยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยง หรือ ฝัก รูปซิการ์ ขนาด 1-1.5 ด5-10 ซม. สีเขียว มีเหลี่ยมเล็กน้อย โคนสอบทู่ ออกดอกและผลเกือบตลอดทั้งปี
- - ต้นพังกาหัวสุมดอกขาว : เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-30 เมตร โคนต้นมีพูพอนสูง รากหายใจรูปคล้ายเข่า มีรากค้ำจุนขนาดเล็ก กิ่งอ่อนสีเขียว บางครั้งเหมือนถูกย้อมด้วยสี แดง เปลือกสีเทาเข้มถึงสีน้ำตาลอมเทา ผิวเปลือกหยาบ เป็นสะเก็ด แตกเป็นร่องตามยาว ช่องอากาศขนาดใหญ่มีน้อย มีเฉพาะที่พูพอน
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับทิศทาง แผ่นใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน แกมรูปรี ขนาด 3-6 ด 8-16 ซม. ปลายใบและฐานใบแหลม เส้นใบ 7- 11คู่ ก้านใบยาว 1-5 ซม. หูใบยาว 4-10ซม. สีเหลืองอ่อน หรือสีเขียว
- ดอก : ออกดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ยาว 2.3-4 ซม. ก้านดอกยาว 0.6-1.5 ซม. สีเขียว กลีบเลี้ยง 10-12 กลีบ สีเหลืองอ่อน หรือเขียวอมเหลือง หรือเขียวอมชมพู หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 ซม. มีสัน กลีบดอก ยาว 1-1.5 ซม. ขอบกลีบมีขน
- ผล : รูปคล้ายลูกข่าง ยาว 2-3 ซม. ผิวเรียบ เป็นผลแบบงอก ตั้งแต่ยังติดอยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยง หรือ ฝัก รูปซิการ์ ขนาด 1-1.5 ด5-10 ซม. สีเขียว มีเหลี่ยมเล็กน้อย โคนสอบทู่ ออกดอกและผลเกือบตลอดทั้งปี
การกระจายพันธุ์ :
- ประเทศศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงนิวกินีตะวันออก และนิวบริทเทน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
- ไม่ระบุ
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- เป็นยาฝาดสมานแก้ท้องเสียและมาลาเรีย ใช้กินกับหมากในบางครั้ง และใช้หยอดตา
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ