ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ล้มลุก มีกิ่งก้านมากและมีขนปกคลุม ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามเป็นคู่ ๆ รูปรีหรือรีแกมขอบขนาน ปลายใบแหลมหรือมน ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย โคนใบแหลมหรือมน ตามเส้นใบมีขน ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ใบประดับรูปไข่ ปลายแหลมขอบมีขน ดอกติดรอบแกนข่อเป็นระยะ ๆ กลีบมนรูปเกือบกลมบานวกกลับไปทางด้านหลัง กลีบล่างยาวกว่ากลีบบน มีหยักรูปหอก 4 หยัก ผลแห้ง มีขนาดเล็ก ๆ 4 ผลอยู่ด้วยกัน รูปรี
การกระจายพันธุ์ :
- เป็นพืชพื้นเมืองเขตร้อนในถิ่นโลกเก่า คือบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชียและแอฟริกา แต่พบมากในแถบเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น อินเดีย ศรีลังกา เนปาล พม่า ไทย ลาว กัมพูชา ฯลฯ
- เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียเขตร้อน แต่ปลูกได้ในเขตร้อนทั่วโลก
- เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียเขตร้อน แต่ปลูกได้ในเขตร้อนทั่วโลก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- วิสัยพืช เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขามาก ลำต้น สูง 30-60 เซนติเมตร โคนต้นเป็นมีเนื้อแข็ง มีขนตามลำต้นและกิ่ง ลำต้นสีเขียวอมขาว และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกสลับตั้งฉาก สีเขียว ก้านใบยาวถึง 2.5 เซนติเมตร ใบรูปรีกว้าง ขนาด 3-6 x 1-3 เซนติเม
- วิสัยพืช เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขามาก ลำต้น สูง 30-60 เซนติเมตร โคนต้นเป็นมีเนื้อแข็ง มีขนตามลำต้นและกิ่ง ลำต้นสีเขียวอมขาว และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกสลับตั้งฉาก สีเขียว ก้านใบยาวถึง 2.5 เซนติเมตร ใบรูปรีกว้าง ขนาด 3-6 x 1-3 เซนติเม
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นได้ดีในดินทุกชนิด แต่ชอบดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ร่วนซุย ระบายน้ำดี ปลูกได้ง่ายมากช่วงต้นฤดูฝน
- ขึ้นได้ดีในดินทุกชนิด แต่ชอบดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ร่วนซุย ระบายน้ำดี ปลูกได้ง่ายมากช่วงต้นฤดูฝน
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด หรือปักชำกิ่ง
- เพาะเมล็ด หรือปักชำกิ่ง
การเก็บเกี่ยว :
- ประมาณ 2 เดือนครึ่งหลังปลูก เก็บเกี่ยวสัปดาห์ละครั้ง จนอายุประมาณ 5-6 เดือน ตัดต้นทิ้ง ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ได้ตลอดปี
- ประมาณ 2 เดือนครึ่งหลังปลูก เก็บเกี่ยวสัปดาห์ละครั้ง จนอายุประมาณ 5-6 เดือน ตัดต้นทิ้ง ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ได้ตลอดปี
พื้นที่เพาะปลูก :
- พื้นที่ปลูกมากที่สุดไปยังน้อยตามลำดับ ดังนี้ นครปฐม ชลบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี อ่างทอง นครศรีธรรมราช ลำพูน นนทบุรี สุราษฎร์ธานี นครราชสีมา ระยอง สระบุรี ขอนแก่น ชุมพร ราชบุรี นครสวรรค์ อุบลราชธานี (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภ
- พื้นที่ปลูกมากที่สุดไปยังน้อยตามลำดับ ดังนี้ นครปฐม ชลบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี อ่างทอง นครศรีธรรมราช ลำพูน นนทบุรี สุราษฎร์ธานี นครราชสีมา ระยอง สระบุรี ขอนแก่น ชุมพร ราชบุรี นครสวรรค์ อุบลราชธานี (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภ
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ