ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก กล้วยไข่เป็นไม้ยืนต้นประเภท perennial herb มีลำต้นแท้ที่เป็นหัวอยู่ใต้ดิน มีลำต้นเทียมสูง 2.5 – 3.0 เมตร ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 16 เซนติเมตร หรือ มีเส้นรอบวงลำต้นประมาณ 50 เซนติเมตร กาบลำต้นด้านนอกมีสีเขียวปนเหลือง กาบด้านในมีสีชมพูแดง มีประดำหนา โคนใบมีปีกสีชมพู ใบเป็นแบบ lanceolate ใบมีสีเขียวปนเหลือง ใบไม่เป็นนวล ก้านใบสีเขียวอมเหลือง ใบกว้างประมาณ 70 – 75 เซนติเมตร ยาว 180 – 195 เซนติเมตร แผ่นใบทั้งสองด้านมีความกว้างไม่เท่ากัน มีร่องกว้าง ดอกเป็นแบบดอกรวม เรียกว่า ปลี ดอกเพศผู้และเพศเมียแยกกันโดยดอกเพศเมียอยู่ด้านบน ส่วนดอกเพศผู้อยู่ด้านล่าง ส่วนกลางเป็นดอกกระเทย ดอกกระเทยมีค่อนข้างน้อยมาก มีขนอ่อนปกคลุมที่ก้านช่อดอก ใบประดับดอกมีรูปไข่ มีลักษณะม้วนงอขึ้น โดยมีส่วนปลายค่อนข้างแหลม ด้านล่างมีสีแดงอมม่วง ด้านบนมีสีซีดดอกย่อยมีกลีบเชื่อมติดกัน 2 กลีบ ได้แก่ กลีบรวม มีจำนวน 5 กลีบมีลักษณะสีขาวปลายสีเหลือง และกลีบรวมเดี่ยว 1 กลีบ มีลักษณะขาวใส เกสรเพศผู้ และเพศเมียมีความยาวใกล้เคียงกัน เกสรเพศเมียสูงกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย เกสรเพศเมียมีสีเหลือง ส่วนเกสรเพศผู้มีสีชมพูส่วนของปลีกล้วยไข่ที่รวมกันจะเรียกว่า เครือ ซึ่งจะแบ่งเป็นหวี ๆ ประมาณ7 – 10 หวี แต่ละหวีมีผลกล้วยประมาณ 10 – 14 ผล ผลมีขนาด กว้างประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 8 – 10 เซนติเมตร มีก้านผลค่อนข้างสั้น เปลือกผลค่อนข้างบาง เมื่อสุกมีสีเหลือง แต่อาจพบจุดดำเล็ก ๆ ประปรายบนเปลือกผล เนื้อกล้วยมีสีครีมอมส้ม ให้รสหวาน และมีกลิ่นหอม
-
ไม้ล้มลุก มีลำต้นใต้ดินอายุหลายปี ลำต้นบนดินรูปทรงกระบอก เป็นลำต้นปลอม เกิดจากกาบใบห่อหุ้มซ้อนกัน ใบออกเรียงเวียนสลับกันรูปขอบขนาน ขนาดใหญ่ ปลายตัด ขอบเรียบเส้นกลางใบแข็ง เส้นใบมีเป็นจำนวนมาก โดยออกจากเส้นกลางใบทั้ง 2 ข้าง ขนานกันไปจรดขอบใบ ก้านใบยาว ด้านล่างกลม ด้านบนเป็นร่อง ส่วนโคนแผ่เป็นกาบ ดอกออกเป็นช่อห้อยลง ก้านช่อดอกแข็งดอกย่อยแยกเป็นดอกเพศผู้และเพศเมีย ดอกเพศเมียมักอยู่ตอนล่างของช่อดอกย่อยจะอยู่เป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มรองรับด้วยใบประดับขนาดใหญ่สีม่วงแดง ซึ่งติดบนแกนกลางช่อดอกแบบเรียงสลับกัน ดอกย่อยรูปทรงกระบอก กลีบดอกแยกเป็น 3-5 แฉก ผลสดรูปทรงกระบอกหรือเป็นสี่เหลี่ยมอยู่ติดกันคล้ายหวีเปลือกหนา เมื่อสุกมีรสหวานรับประทานได้
การกระจายพันธุ์ :
-
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบที่ภาคกลาง และภาคกลางตอนบน ได้แก่ สระบุรี กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย ภาคตะวันตก ได้แก่ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี ภาคตะวันออก ได้แก่ ชลบุรี ภาคอีสาน ได้แก่ สุรินทร์
-
กล้วยน้ำว้าเป็นกล้วยที่เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างกล้วยป่า 2 ชนิด ได้แก่ Musa acuminata Colla กับ Musa balbisiana Colla มีถิ่นกำเนิดอยู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาการปลูกกล้วยได้ขยายออกไปทั่วเขตร้อน และเข้าไปในเขตอบอุ่นของเอเชียอเมริกา แอฟริกาและออสเตรเลีย จึงอาจกล่าวได้ว่าประเทศทั้งหลายที่ตั้งอยู่ในเขตร้อนและมีฝนตกชุก กล้วยเป็นผลไม้ที่มีปลูกกันมาก สำหรับความเป็นมาของกล้วยในประเทศไทยนั้น จากหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุด คือ จดหมายเหตุลาลูแบร์ ที่เขียนในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในปัจจุบันกล้วยน้ำว้าปลูกมากที่สุดในจังหวัดเลย หนองคาย และระนอง พันธุ์กล้วยน้ำว้าที่พบในไทย ได้แก่ กล้วยน้ำว้าแดง กล้วยน้ำว้าค่อม กล้วยน้ำว้าเหลือง กล้วยน้ำว้าขาว กล้วยน้ำว้านวล
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- พืชล้มลุกขนาดใหญ่ กาบใบซ้อนอัดกันแน่นเป็นลำต้นเทียมเหนือดิน ตั้งตรงสูง 2-5 ม.
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
-
- พืชล้มลุกขนาดใหญ่ กาบใบซ้อนอัดกันแน่นเป็นลำต้นเทียมเหนือดิน ตั้งตรงสูง 2-5 ม.
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
-
- พืชล้มลุกขนาดใหญ่ กาบใบซ้อนอัดกันแน่นเป็นลำต้นเทียมเหนือดิน ตั้งตรงสูง 2-5 ม.
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
-
- พืชล้มลุกขนาดใหญ่ กาบใบซ้อนอัดกันแน่นเป็นลำต้นเทียมเหนือดิน ตั้งตรงสูง 2-5 ม.
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
- ใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ หลังใบเรียบเป็นมัน ท้องใบมีนวลสีขาวเคลือบ เส้นกลางใบใหญ่และแข็ง ก้านใบยาว
- ดอก ดอกช่อ ออกที่ปลายยอด มีกาบประดับสีแดงคล้ำซ้อนกันเป็น หัวปลี ที่ซอกกาบประดับมีดอกย่อยออกเป็นแผง
- ผล ผลมีลักษณะเป็น หวี 10-20 ผล ช่อดอกที่ติดผลแล้วกาบประดับ จะหลุดร่วงไป และเจริญยืดยาวขึ้นเรียกว่า เครือ ผลกลมยาว เนื้อในสีขาว
การขยายพันธุ์ :
-
1.โดยการใช้เมล็ด
2.โดยการใช้หน่อ
2.โดยการใช้หน่อ
-
1.โดยการใช้เมล็ด
2.โดยการใช้หน่อ
2.โดยการใช้หน่อ
-
1.โดยการใช้เมล็ด
2.โดยการใช้หน่อ
2.โดยการใช้หน่อ
-
1.โดยการใช้เมล็ด
2.โดยการใช้หน่อ
2.โดยการใช้หน่อ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นนทบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี