ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๕ ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อจากซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว ขนาดเล็ก ผลรูปรีมีเนื้อฉํ่านํ้า ผลสุกสีเหลืองอมเขียว มีเมล็ดแข็ง ๑ เมล็ด ออกดอกช่วงเดือนตุลาคม – มกราคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือปักชำ
-
เป็นพันธุ์ไม้ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 20-25 เมตร ลักษณะของต้นเป็นทรงเรือนยอดเป็นพุ่มหนาทึบตลอดปี มีรากที่แข็งแรง กว้างขวาง และหยั่งลึก เปลือกของลำต้น ค่อนข้างหนา มีสีน้ำตาลเทาหรือสีเทาปนดำ ผิวเปลือกแตกเป็นร่องตื้นๆ หรือเป็นสะเก็ดยาวๆ เยื้องสลับกันไปตามความยาวของละต้น ส่วนเปลือกของกิ่งมีลักษณะค่อนข้างเรียบ และเนื้อไม้มีสีแดงเข้ม
ปนสีน้ำตาล เสี้ยนค่อนข้างสับสนเป็นริ้วๆ แคบ เนื้อหยาบ เป็นมันเลื่อม มีความแข็งแรงทนทาน ส่วนแกนไม้มีสีน้ำตาลแดง มีความแข็งแรงและทนทานมาก
ปนสีน้ำตาล เสี้ยนค่อนข้างสับสนเป็นริ้วๆ แคบ เนื้อหยาบ เป็นมันเลื่อม มีความแข็งแรงทนทาน ส่วนแกนไม้มีสีน้ำตาลแดง มีความแข็งแรงและทนทานมาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
สระบุรี
-
ชัยภูมิ
-
สุโขทัย
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
กาญจนบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
ระนอง, ชุมพร
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
บึงกาฬ
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
-
ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
-
ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
-
ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
-
ต้น : เป็นพรรณไม้ยืนต้นสีเขียวตลอดปี และมีความสูงถึง 30 ม. เปลือกต้นนั้นจะเป็นสีน้ำตาล
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
ใบ : จะออกใบตรงข้ามกัน ใบมีลักษณะกลมรี ตรงปลายของมันจะแหลมสั้น มีความยาวประมาณ30 ซม. หลังใบจะเป็นสีเขียวเป็นมัน ส่วนท้องใบนั้นจะเป็นสีเขียวอ่อนกว่า มักจะมีสีแดงและมีขนสั้น ๆ ตามเส้นใบใหญ่
ดอก : ดอกจะออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจะมีกลีบดอกเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสั้น ตรงส่วนปลายจะแยกเป็น 5 กลีบ กลีบ ดอกจะติดกันเป็นหลอดยาวประมาณ 2.4-3.6 ซม. ตรงปลายของมันจะแยกเป็น 5 กลีบ เป็นสีชมพู
เกสร : เกสรตัวผู้จะมีอยู่ประมาณ 5 อัน จะติดกับหลอดกลีบดอกส่วนก้านเกสรตัวเมียนั้นจะมีอยู่ 1 อัน และยาว จะพันอยู่ติดกับหลอดดอก ส่วนปลายของมันจะแยกเป็น 2 แฉก
รังไข่ : ภายในรังไข่นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ห้อง
เมล็ด ( ผล ) : ผลจะมีลักษณะกลมรียมีความยาว 2.5-3.2 ซม. เมื่อผลแก่แห้งจะแตกออกเป็น 2 ซึก ภายในจะมีเมล็ดประมาณ 25 เม็ด ลักษณะของเมล็ดจะเป็นแผ่นบาง ๆ สีตาลแดง
-
ใบ - ใบมีสีเขียวเข้มหนาทึบ เมื่ออ่อนมีสีแดง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ยาวประมาณ 15-35 เซนติเมตร มีใบย่อยประมาณ 4-7 คู่ ใบย่อยติดตรงข้ามหรือกิ่งตรงข้าม ลักษณะใบเป็นรูปใบหอกกึ่งรูปเคียวโค้ง กว้างประมาณ 1.5-3.5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-9 เซนติเมตร โคนใบเบี้ยวเห็นชัดเจน ส่วนปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ขอบใบเป็นจักคล้ายฟันเลื่อย ค่อนข้างเกลี้ยง มีเส้นใบ
อยู่ประมาณ 15 คู่ ก้านใบย่อยยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร ใบที่อยู่ปลายช่อจะใหญ่สุด ส่วนก้านใบยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร ผิวก้านค่อนข้างเกลี้ยง มีต่อม 1 คู่ที่โคนก้านใบ ในพื้นที่แล้งจัด ต้นจะทิ้งใบเฉพาะส่วนล่างๆ ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม และใบใหม่จะผลิขึ้นมาในช่วงเดือนมีนาคมจนถึงเดือนเมษายน ซึ่งช่วงนี้ต้นสะเดาจะแทงยอดอ่อนพุ่งขึ้นมาอย่างรวดเร็ว
ดอก - ออกดอกเป็นช่อแยกแขนงขนาดใหญ่ตามง่ามใบหรือตามมุมที่ร่วงหลุดไปและที่ปลายกิ่งยาวได้ถึง 30 เซนติเมตร ดอกมีขนาดเล็กสีขาวหรือสีเทา ดอกมีกลิ่นหอมอ่อนๆ แกนกลางของช่อมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ลักษณะค่อนข้างเกลี้ยง แตกกิ่งกางออกเป็น 2-3 ชั้น ที่ปลายเป็นช่อกระจุกอยู่ 1-3 ดอก มีขนคล้ายไหม มีใบประดับและใบประดับย่อยเป็นรูปใบหอก ยาวประมาณ 0.5-1 มิลลิเมตร มีขนนุ่มและสั้น ส่วนก้านดอกย่อยยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร มีขนนุ่มสั้นเช่นกัน ส่วนกลีบเลี้ยงเป็นรูปทรงแจกัน ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ปลายเป็นพู 5 พูกลม พูซ้อนเหลื่อมกัน กลีบดอกมี 5 กลีบแยกออกจากกัน ลักษณะเป็นรูปช้อนแคบ ยาวประมาณ 4-6 มิลลิเมตรมีขนนุ่มสั้นขึ้นทั้งสองด้าน ท่อเกสรตัวผู้เกลี้ยงหรือมีขนนุ่ม มีสัน 10 สัน ขอบบนเป็นพูกลม 10 พู มีอับเรณู 10 อัน ยาวประมาณ 0.8 มิลลิเมตร ลักษณะเป็นรูปรีแคบ ส่วนรังไข่เกลี้ยงหรือมีขนนุ่มสั้น
มักจะออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม (ในช่อดอกมีสารจำพวกไกลโคไซด์ Nimbasterin 0.005% และมีน้ำมันหอมระเหยที่มีรสเผ็ดจัดอยู่ 0.5% นอกจากนี้ยังพบว่ามีสาร Nimbecetin, Nimbesterol, กรดไขมัน และสารที่มีรสขม)
ผล - คล้ายผลองุ่น ผลมีลักษณะกลมรี ขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและ
ยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมเขียว มีรสหวานเล็กน้อย ผลจะสุกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายนขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะสุกเร็วกว่าภาคกลาง เป็นต้น (ผลมีสารขมที่ชื่อว่า Bakayanin)
เมล็ด - เมล็ดมีลักษณะกลมรี ผิวเมล็ดค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็กๆ ตามยาวสีเหลืองซีดหรือเป็นสีน้ำตาล ในน้ำหนัก 1 กิโลกรัม จะมีเมล็ดประมาณ 4,000 เมล็ด ซึ่งในเมล็ดจะมีน้ำมันอยู่ประมาณ 45% (ในเมล็ดมีน้ำมันขม Margosic acid 45% หรือเรียกว่า Nim oil และมีสารขม Nimbin)
อยู่ประมาณ 15 คู่ ก้านใบย่อยยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร ใบที่อยู่ปลายช่อจะใหญ่สุด ส่วนก้านใบยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร ผิวก้านค่อนข้างเกลี้ยง มีต่อม 1 คู่ที่โคนก้านใบ ในพื้นที่แล้งจัด ต้นจะทิ้งใบเฉพาะส่วนล่างๆ ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม และใบใหม่จะผลิขึ้นมาในช่วงเดือนมีนาคมจนถึงเดือนเมษายน ซึ่งช่วงนี้ต้นสะเดาจะแทงยอดอ่อนพุ่งขึ้นมาอย่างรวดเร็ว
ดอก - ออกดอกเป็นช่อแยกแขนงขนาดใหญ่ตามง่ามใบหรือตามมุมที่ร่วงหลุดไปและที่ปลายกิ่งยาวได้ถึง 30 เซนติเมตร ดอกมีขนาดเล็กสีขาวหรือสีเทา ดอกมีกลิ่นหอมอ่อนๆ แกนกลางของช่อมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ลักษณะค่อนข้างเกลี้ยง แตกกิ่งกางออกเป็น 2-3 ชั้น ที่ปลายเป็นช่อกระจุกอยู่ 1-3 ดอก มีขนคล้ายไหม มีใบประดับและใบประดับย่อยเป็นรูปใบหอก ยาวประมาณ 0.5-1 มิลลิเมตร มีขนนุ่มและสั้น ส่วนก้านดอกย่อยยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร มีขนนุ่มสั้นเช่นกัน ส่วนกลีบเลี้ยงเป็นรูปทรงแจกัน ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ปลายเป็นพู 5 พูกลม พูซ้อนเหลื่อมกัน กลีบดอกมี 5 กลีบแยกออกจากกัน ลักษณะเป็นรูปช้อนแคบ ยาวประมาณ 4-6 มิลลิเมตรมีขนนุ่มสั้นขึ้นทั้งสองด้าน ท่อเกสรตัวผู้เกลี้ยงหรือมีขนนุ่ม มีสัน 10 สัน ขอบบนเป็นพูกลม 10 พู มีอับเรณู 10 อัน ยาวประมาณ 0.8 มิลลิเมตร ลักษณะเป็นรูปรีแคบ ส่วนรังไข่เกลี้ยงหรือมีขนนุ่มสั้น
มักจะออกดอกในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม (ในช่อดอกมีสารจำพวกไกลโคไซด์ Nimbasterin 0.005% และมีน้ำมันหอมระเหยที่มีรสเผ็ดจัดอยู่ 0.5% นอกจากนี้ยังพบว่ามีสาร Nimbecetin, Nimbesterol, กรดไขมัน และสารที่มีรสขม)
ผล - คล้ายผลองุ่น ผลมีลักษณะกลมรี ขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและ
ยาวประมาณ 1-2 เซนติเมตร ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมเขียว มีรสหวานเล็กน้อย ผลจะสุกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายนขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะสุกเร็วกว่าภาคกลาง เป็นต้น (ผลมีสารขมที่ชื่อว่า Bakayanin)
เมล็ด - เมล็ดมีลักษณะกลมรี ผิวเมล็ดค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็กๆ ตามยาวสีเหลืองซีดหรือเป็นสีน้ำตาล ในน้ำหนัก 1 กิโลกรัม จะมีเมล็ดประมาณ 4,000 เมล็ด ซึ่งในเมล็ดจะมีน้ำมันอยู่ประมาณ 45% (ในเมล็ดมีน้ำมันขม Margosic acid 45% หรือเรียกว่า Nim oil และมีสารขม Nimbin)
การขยายพันธุ์ :
-
โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
-
โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
-
โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
-
โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
-
โดยการใช้กิ่งชำหรือเมล็ด ถ้าปลูกเป็นจำนวนมากนิยมปลูกด้วยเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
-
อาหาร
-
ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย ช่วยบำรุงธาตุไฟ ขับน้ำย่อยอาหารทำให้กระเพาะย่อยอาหารได้ดีขึ้น ช่วยบำรุงโลหิต น้ำตาลที่ได้จากการหมักน้ำจากลำต้นมีแร่ธาตุ ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย ช่วยบำรุงและรักษาสายตา โดยพบว่าผู้ที่รับประทานยอดสะเดาตั้งแต่เด็ก เมื่ออายุ 90 กว่า สายตายังดีมาก ใช้เป็นยาขมเจริญอาหาร ด้วยการใช้ช่อดอกนำมาลวกน้ำร้อน จิ้มน้ำปลาหวานหรือน้ำพริก หรือจะใช้เปลือกสดประมาณ 1 ฝ่ามือ นำมาต้มกับน้ำ 2 ถ้วยแก้ว ใช้รับประทานครั้งละครึ่งถ้วยแก้ว ช่วยแก้กษัยหรือโรคซูบผอม ผอมแห้งแรงน้อย ช่วยรักษาโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเอดส์ เนื่องจากการรับประทานใบสะเดาเป็นอาหารจะช่วยทำให้เจริญอาหาร ลดอาการเบื่ออาหารหรือกินอาหารได้น้อยแล้วทำให้ซูบผอม จนทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน ช่วยลดความเครียด โดยมีผลการทดลองในหนู ระหว่างกลุ่มที่ได้รับน้ำใบสะเดาคั้นและกลุ่มที่รับยา Diazepam (Valium) ซึ่งเป็นยาลดความกังวล ผลการทดลองพบว่าสะเดาส่งผลได้ดีเท่ากับหรือดีกว่ายา Diazepam ช่วยทำให้นอนหลับสบายหรือหากนอนไม่หลับ ให้ใช้ใบและก้านสะเดาประมาณ 1 กำมือ ใส่น้ำพอท่วมยาแล้วต้มให้เดือดนาน 5-10 นาที ใช้กินครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3-4 เวลา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
พื้นที่บางกระเจ้า