ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ล้มลุกอายุปีเดียว สูง ๑ – ๓ ม. มักพบขึ้นในพื้นที่ชุ่มนํ้า ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย ๑๐ – ๓๐ คู่ ดอกออกเป็นช่อห้อยจากซอกใบ ยาวถึง ๑๔ ซม. ดอกสีเหลืองมีประสีนํ้าตาล ผลเป็นฝักเขียว ยาว ๑๘ – ๒๐ ซม. ออกดอกช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้พุ่มหรือไม้ล้มลุก สูง 1-4 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 10-30 คู่ รูปแถบแกมขอบขนาน กว้าง 2-4 มม. ยาว 12-25 มม.โคนใบมน ปลายใบแหลม ก้านใบสั้นมาก หูใบรูปแถบ ยาว 5-6 มม. ช่อดอกกระจะยาวได้ถึง 10 ซม. ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อย 5-12 ดอก ก้านดอกย่อยยาว 10-12 กลีบเลี้ยง 5 กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปดอกถั่ว สีเหลือง ยาว 2.5 ซม. ฝักรูปทรงกระบอกยาว กว้าง 0.4 ซม. ยาว 18-20 ซม. สีม่วงหรือน้ำตาล เมล็ดรูปทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม.
- ไม้ล้มลุกอายุปีเดียว สูง ๑ – ๓ ม. มักพบขึ้นในพื้นที่ชุ่มนํ้า ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย ๑๐ – ๓๐ คู่ ดอกออกเป็นช่อห้อยจากซอกใบ ยาวถึง ๑๔ ซม. ดอกสีเหลืองมีประสีนํ้าตาล ผลเป็นฝักเขียว ยาว ๑๘ – ๒๐ ซม. ออกดอกช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- พืชชายน้ำ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่มขนาดเล็ก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นนทบุรี
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
การกระจายพันธุ์ :
- มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อนของทวีปเอเชียจากอินเดียไปทางตะวันออกจนถึงประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกภาค โดยมักพบริมแม่น้ำลำคลอง ริมอ่างเก็บน้ำ บ่อน้ำ หรือพื้นที่ชื้นที่มีน้ำขังบางครั้งคราว
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร ดอกมีความสวยงาม ทำเป็นพืชประดับได้
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
COUNTRY CULTIVAR
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด
DOAVG 00066 โสน Sesbania javanica สุพรรณบุรี
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด