ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial fern.
-
เฟินขึ้นบนดิน เหง้าเกาะเลื้อย เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มม. เกล็ดรูปสามเหลี่ยมสีน้ำตาล ยาวประมาณ 2.5 มม. ร่วงเร็ว ใบประกอบยาว 22-60 ซม. ก้านใบยาว 22-70 ซม. ใบย่อย 14-25 คู่ รูปแถบ ยาว 6-15 ซม. หรือยาวได้ถึง 20 ซม. เรียงห่างกัน ปลายเรียวแหลม โคนกลม ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ ขอบจักเป็นพูลึกไม่เกินกึ่งหนึ่ง รูปขอบขนาน ปลายมน มีติ่งแหลม เส้นกลางใบส่วนมากมีขนและเกล็ดประปราย แผ่นใบมีขนหรือต่อมตามเส้นใบ กลุ่มของอับสปอร์เกิดบริเวณขอบใบย่อย เรียงชิดกันเป็นแถว
ระบบนิเวศ :
-
On grassy banks along streams or in open marshy
places, at low altitudes.
places, at low altitudes.
การกระจายพันธุ์ :
-
Pantropical.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,Phayao,Lampang,Bangkok,Kanchanaburi,Phetchaburi,PrachuapKhiriKhan,SuratThani,Phuket,Krabi,NakhonSiThammarat,Phatthalung,Songkhla,Yala
-
พะเยา, กาญจนบุรี, พระนครศรีอยุธยา, สมุทรสาคร, สกลนคร
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
IUCN Red List
-
พื้นที่บางกระเจ้า