ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นนทบุรี
- พัทลุง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
- อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- มะพูด เป็นไม้ต้น สูงถึง 9 ม.
ลำต้น : เมื่อมีบาดแผลมียางสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 9–12 ซม. ยาว 17–25 ซม. เรียวไปที่ปลายใบ โคนใบตัดตรง และเว้าเล็กน้อยคล้ายรูปหัวใจ เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง เมื่อแห้งสีเหลืองอมเทา ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียด บางครั้งเกลี้ยง ก้านใบสั้น
ดอก : ดอกสีเขียวอมเหลือง แยกเพศในต้นเดียวกัน ออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ
ผล : ผลกลม หรือรูปไข่ ยาวถึง 6.5 ซม. สุกสีเหลืองสด
- มะพูด เป็นไม้ต้น สูงถึง 9 ม.
ลำต้น : เมื่อมีบาดแผลมียางสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม แผ่นใบรูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 9–12 ซม. ยาว 17–25 ซม. เรียวไปที่ปลายใบ โคนใบตัดตรง และเว้าเล็กน้อยคล้ายรูปหัวใจ เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง เมื่อแห้งสีเหลืองอมเทา ผิวใบด้านล่างมีขนละเอียด บางครั้งเกลี้ยง ก้านใบสั้น
ดอก : ดอกสีเขียวอมเหลือง แยกเพศในต้นเดียวกัน ออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ
ผล : ผลกลม หรือรูปไข่ ยาวถึง 6.5 ซม. สุกสีเหลืองสด
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด