ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร เรือนยอดแคบรูปทรงกรวยคว่ำถึงกลม แตกกิ่งตั้งฉาก
กับลำต้น ปลายกิ่งมักย้อยลง ลำต้น กลม เปลาตรง โคนต้นเป็นพูพอน มีรากค้ำยันต่ำ เปลือกสีน้ำตาลเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตามยาวตื้น ๆ และกะเทาะบุ๋มเป็นแว่น เปลือกชั้นในสีชมพูถึงแดง มีสีขาวเป็นริ้ว เมื่อสับเปลือกจะมียางใสสีแดง มีช่องอากาศทั่วไปตามเปลือกและกิ่ง รากหายใจคล้ายสะพานโค้งและงอหักศอกเป็นมุมกว้าง ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน มีจุดประเล็กๆ ทั่วไป ด้านล่างสีเขียวนวล เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนงออกตามกิ่งและง่ามใบ ผล มีเนื้อเมล็ดเดียวแข็ง แตกตามรอยประสานเป็น
2 ซีก เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดงอมส้มหุ้มทั้งเมล็ด
กับลำต้น ปลายกิ่งมักย้อยลง ลำต้น กลม เปลาตรง โคนต้นเป็นพูพอน มีรากค้ำยันต่ำ เปลือกสีน้ำตาลเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตามยาวตื้น ๆ และกะเทาะบุ๋มเป็นแว่น เปลือกชั้นในสีชมพูถึงแดง มีสีขาวเป็นริ้ว เมื่อสับเปลือกจะมียางใสสีแดง มีช่องอากาศทั่วไปตามเปลือกและกิ่ง รากหายใจคล้ายสะพานโค้งและงอหักศอกเป็นมุมกว้าง ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน มีจุดประเล็กๆ ทั่วไป ด้านล่างสีเขียวนวล เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนงออกตามกิ่งและง่ามใบ ผล มีเนื้อเมล็ดเดียวแข็ง แตกตามรอยประสานเป็น
2 ซีก เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดงอมส้มหุ้มทั้งเมล็ด
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง ๑๐-๑๕ เมตร เรือนยอดแคบรูปทรงกรวยคว่ำถึงกลม แตกกิ่งตั้งฉากกับลำต้น ปลายกิ่งมักย้อยลง
ลำต้น : กลม เปลาตรง โคนต้นเป็นพูพอน มีรากค้ำยันต่ำ เปลือกสีน้ำตาล เทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตามยาวตื้นๆ และกะเทาะบุ๋มเป็นแว่น เปลือกชั้นในสีชมพูถึงแดง มีสีขาว เป็นริ้ว เมื่อสับเปลือกจะมียางใสสีแดง มีช่องอากาศทั่วไปตามเปลือกและกิ่ง รากหายใจคล้ายสะพานโค้ง และงอหักศอกเป็นมุมกว้าง
ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียว เข้มเป็นมัน มีจุดประเล็กๆ ทั่วไป ด้านล่างสีเขียวนวล เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง
ดอก : แบบช่อเชิงลด มีก้านแยกแขนงออกตามกิ่งและง่ามใบ
ผล : มีเนื้อเมล็ดเดียวแข็ง แตกตามรอยประสานเป็น ๒ ซีก เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดงอมส้มหุ้มทั้งเมล็ด
ลำต้น : กลม เปลาตรง โคนต้นเป็นพูพอน มีรากค้ำยันต่ำ เปลือกสีน้ำตาล เทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตามยาวตื้นๆ และกะเทาะบุ๋มเป็นแว่น เปลือกชั้นในสีชมพูถึงแดง มีสีขาว เป็นริ้ว เมื่อสับเปลือกจะมียางใสสีแดง มีช่องอากาศทั่วไปตามเปลือกและกิ่ง รากหายใจคล้ายสะพานโค้ง และงอหักศอกเป็นมุมกว้าง
ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดี่ยว ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียว เข้มเป็นมัน มีจุดประเล็กๆ ทั่วไป ด้านล่างสีเขียวนวล เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง
ดอก : แบบช่อเชิงลด มีก้านแยกแขนงออกตามกิ่งและง่ามใบ
ผล : มีเนื้อเมล็ดเดียวแข็ง แตกตามรอยประสานเป็น ๒ ซีก เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดงอมส้มหุ้มทั้งเมล็ด
ระบบนิเวศ :
-
พบขึ้นตามริมฝั่งแม่น้ำลำคลองใกล้ชายฝั่งทะเล แนวหลังป่าชายเลน หรือตามป่าที่ราบลุ่มและที่น้ำขังทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
-
สมุทรปราการ
-
จันทบุรี
-
ปัตตานี
-
ปัตตานี
-
ยะลา
-
นราธิวาส
-
สงขลา
-
สงขลา
-
นราธิวาส
-
นราธิวาส
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บางกระเจ้า
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ บางลาง
-
อุทยานแห่งชาติ บูโด-สุไหงปาดี
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-25 ม. โคนต้นเป็นพอน มักมีรากค้ำยัน (stilt root) บริเวณโคนต้น เมื่อสับเปลือกจะมียางใสสีแดงไหลออกมามาก ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีนวล ดอกแยกเพศ อยู่ร่วมต้น ออกเป็นช่อแยกแขนงตามง่ามใบ ช่อดอกเพศผู้แตกแขนงแผ่กว้างกว่าช่อดอกเพศเมีย ดอกมีจำนวนมาก ขนาดเล็กมาก สีเหลือง กลิ่นหอม ออกชิดกันแน่นเป็นกลุ่มๆ ตามแขนงช่อดอก ดอกเพศผู้มีเกสรเพศผู้ 6-10 อัน ดอกเพศเมียใหญ่กว่าดอกเพศผู้ ผลกลมเป็นผลมีเนื้อ ออกเป็นพวง พวงละ 2-5 ผล เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. ผนังผลหนา สุกสีส้มหรือแดงอมส้ม มี 1 เมล็ด เมล็ดแข็ง ขนาดใหญ่ สีน้ำตาลเข้ม เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดงอมส้ม
ขึ้นบนที่ราบตามริมฝั่งแม่น้ำลำคลองตอนที่ติดต่อกับทะเล
ขึ้นบนที่ราบตามริมฝั่งแม่น้ำลำคลองตอนที่ติดต่อกับทะเล
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-25 ม. โคนต้นเป็นพอน มักมีรากค้ำยัน (stilt root) บริเวณโคนต้น เมื่อสับเปลือกจะมียางใสสีแดงไหลออกมามาก ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมนหรือแหลม ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีนวล ดอกแยกเพศ อยู่ร่วมต้น ออกเป็นช่อแยกแขนงตามง่ามใบ ช่อดอกเพศผู้แตกแขนงแผ่กว้างกว่าช่อดอกเพศเมีย ดอกมีจำนวนมาก ขนาดเล็กมาก สีเหลือง กลิ่นหอม ออกชิดกันแน่นเป็นกลุ่มๆ ตามแขนงช่อดอก ดอกเพศผู้มีเกสรเพศผู้ 6-10 อัน ดอกเพศเมียใหญ่กว่าดอกเพศผู้ ผลกลมเป็นผลมีเนื้อ ออกเป็นพวง พวงละ 2-5 ผล เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. ผนังผลหนา สุกสีส้มหรือแดงอมส้ม มี 1 เมล็ด เมล็ดแข็ง ขนาดใหญ่ สีน้ำตาลเข้ม เนื้อหุ้มเมล็ดสีแดงอมส้ม
ขึ้นบนที่ราบตามริมฝั่งแม่น้ำลำคลองตอนที่ติดต่อกับทะเล
ขึ้นบนที่ราบตามริมฝั่งแม่น้ำลำคลองตอนที่ติดต่อกับทะเล
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
ใบ ดอก
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ใบ : แก้พิษไข้ แก้ผื่นคันผิวหนัง แก้ริดสีดวงจมูก ไข้กาฬ และแก้บาดแผล
ดอก : แก้ไข้พิษ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
ที่มาของข้อมูล
-
กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
ไม้ต้นที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร และควรนำมาขยายพันธุ์เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน, กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
พื้นที่บางกระเจ้า